อาจมีหลุมดำขนาดกลาง ที่ใจกลางทางช้างเผือก
TOKYO — พบหลักฐานชิ้นใหม่สนับสนุนการดำรงอยู่ของหลุมดำขนาดกลางซึ่งเป็นเพียงแค่ทฤษฎีมานานว่าเป็นจุดเชื่อมระหว่างหลุมดำของดาวเดี่ยวและดาวฤกษ์ที่มีมวลมหาศาลที่พบได้ในจุดศูนย์กลางของกาแลคซี
ข้อมูลของหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นเผยว่า ทีมวิจัยซึ่งนำทีมโดย Tomoharu Oka ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัย Keio ได้ค้นพบเมฆก๊าซประหลาดที่เรียกว่า CO-0.40-0.22 ใกล้กับใจกลางของทางช้างเผือกซึ่งประกอบไปด้วยก๊าซที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ต่างกัน
ปรากฎการณ์นี้พร้อมกับคลื่นวิทยุจากศูนย์กลางของเมฆบ่งชี้ว่าอาจจะมีหลุมดำขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์หลายแสนเท่า
สัญญาณวิทยุที่ตรวจพบจากเมฆดูคล้ายกับสัญญาณจาก Sagittarius A ซึ่งเป็นหลุมดำมวลมหาศาลใจกลางกาแลคซีของเรา
ทีมงานจึงตั้งสมมติฐานว่าหลุมดำขนาดกลางถึงขนาดใหญ่กำลังได้ก่อตัวในแกนกลางของกาแลคซีแคระที่ถูกดูดเข้าสู่ทางช้างเผือกก่อนหน้านี้
นักวิทยาศาสตร์เชื่อกันว่าหลุมดำขนาดใหญ่เกิดจากการรวมตัวของหลุมขนาดเล็กกว่า ดังนั้นการค้นพบนี้จึงเป็นหลักฐานที่ชัดเจนที่สุดของมวลหลุมดำทั้งสองขนาด
ผลการวิจัยของทีมได้ถูกตีพิมพ์ลงในวารสาร Nature Astronomy
TOKYO — พบหลักฐานชิ้นใหม่สนับสนุนการดำรงอยู่ของหลุมดำขนาดกลางซึ่งเป็นเพียงแค่ทฤษฎีมานานว่าเป็นจุดเชื่อมระหว่างหลุมดำของดาวเดี่ยวและดาวฤกษ์ที่มีมวลมหาศาลที่พบได้ในจุดศูนย์กลางของกาแลคซี
ข้อมูลของหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นเผยว่า ทีมวิจัยซึ่งนำทีมโดย Tomoharu Oka ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัย Keio ได้ค้นพบเมฆก๊าซประหลาดที่เรียกว่า CO-0.40-0.22 ใกล้กับใจกลางของทางช้างเผือกซึ่งประกอบไปด้วยก๊าซที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ต่างกัน
ปรากฎการณ์นี้พร้อมกับคลื่นวิทยุจากศูนย์กลางของเมฆบ่งชี้ว่าอาจจะมีหลุมดำขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์หลายแสนเท่า
สัญญาณวิทยุที่ตรวจพบจากเมฆดูคล้ายกับสัญญาณจาก Sagittarius A ซึ่งเป็นหลุมดำมวลมหาศาลใจกลางกาแลคซีของเรา
ทีมงานจึงตั้งสมมติฐานว่าหลุมดำขนาดกลางถึงขนาดใหญ่กำลังได้ก่อตัวในแกนกลางของกาแลคซีแคระที่ถูกดูดเข้าสู่ทางช้างเผือกก่อนหน้านี้
นักวิทยาศาสตร์เชื่อกันว่าหลุมดำขนาดใหญ่เกิดจากการรวมตัวของหลุมขนาดเล็กกว่า ดังนั้นการค้นพบนี้จึงเป็นหลักฐานที่ชัดเจนที่สุดของมวลหลุมดำทั้งสองขนาด
ผลการวิจัยของทีมได้ถูกตีพิมพ์ลงในวารสาร Nature Astronomy
Category
🗞
News