Skip to playerSkip to main contentSkip to footer
  • 2 days ago
เมื่อวานนี้ สำนักงานอวกาศยุโรป (ESA) ประสบความสำเร็จในการส่งดาวเทียมสำรวจผืนป่าขึ้นสู่อวกาศสำเร็จ โดยดาวเทียมดังกล่าวใช้ระบบเรดาร์พิเศษยจากแอร์บัส ที่สามารถมองทะลุเรือนยอดของต้นไม้ลงไปได้

#ดาวเทียมสำรวจผืนป่า #องค์การอวกาศยุโรป #ESA #ทันโลกDAILY #เรื่องข่าวเรื่องใหญ่ #PPTVHD36

ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมที่เว็บไซต์ https://www.pptvhd36.com
และช่องทาง Social Media

-------------------------------------------------------------------
=== สมัครเป็นสมาชิกยูทูปเพื่อเข้าถึงสิทธิพิเศษต่างๆ ===

PPTV HD 36 : https://www.youtube.com/@PPTVHD36/join
PPTV SPORTS : https://www.youtube.com/@PPTV_SPORTS/join

=====================================

Facebook : https://www.facebook.com/PPTVHD36
Instagram : https://www.instagram.com/pptvhd36/
X : https://twitter.com/PPTVHD36
TikTok : https://www.tiktok.com/@pptv.thailand
LINE VOOM : https://pptv36.tv/174l

Category

🗞
News
Transcript
00:00ป่าฝนทั่วโลกมักถูกเรียกว่าปอดของโลก เพราะต้นไม้เหล่านี้กักเก็บคาบอนได้ปีละ 8,000 ล้านตัน
00:08ซึ่งช่วยลดพ้นกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้
00:13แต่เมื่อทั่วโลกมีต้นไม้มากกว่า 1.5 ล้านล้านตัน การจะวัดปริมาณคาบอนที่ต้นไม้เหล่านี้กักเก็บได้อย่างแม่นยำ
00:21เป็นเรื่องที่ทำได้ยาก
00:23เมื่อวันนี้สำนักงานอาวกาศยุโรป
00:26จึงส่งดาวเทียมชื่อ Biomass
00:28น้ำหนัก 1.2 ตัน
00:30ที่จะทำการสำรวจพื้นป่า
00:32และปริมาณคาบอนที่กักเก็บไว้ในต้นไม้
00:35และพืชผันทั่วโลกขึ้นสู่อาวกาศ
00:38จะรวจคนส่งขนาดกลางเวกาซี
00:41ออกเดินทางจากทานปล่อย
00:43มีศูนย์อาวกาศในเมิงครู
00:45ของ French Guiana
00:46ซึ่งเป็นดิดแดนพ้นทะเลของฝรังเศษตั้งแต่เมื่อวันนี้
00:49เพื่อปล่อยดาวเทียมขึ้นสู่อาวกาศ
00:52โดยเมื่อดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร
00:54ที่ระดับความสูง 666 กิโลเมตร
00:57เหนือพื้นโลก
00:58ระบบรีดาห์ P-Band
01:00ที่มีความยาวครื่นมากกว่าครื่นรีดาห์อื่นๆ
01:03จะทำหน้าที่ส่งสัญญาณไปอย่างพื้นดิน
01:06และวิเคราะห์สัญญาณที่สะท้อนกลับมา
01:09ข้อมูลนี้จะช่วยสร้างภาพสามมิติของป่าได้อย่างแม่นยำ
01:12ทั้งความสูงและโครงสร้างความนานแน่นของป่า
01:16คล้ายกับการทำ CT Scan ให้กับพื้นป่า
01:20ซึ่งดีกว่าการถ่ายภาพจากอาวกาศ
01:22หรือการมองดูด้วยดาเปล่าเท่านั้น
01:25ทั้งนี้ดาวเทียม BioMask จะโคจรรอบโลก
01:28เป็นวันละอย่างน้อย 5 ปีนับจากนี้
01:31เพื่อทำการเก็บข้อมูลป่าฝนทั่ว Africa
01:34Atea และอเมริกาใต้
01:37ซึ่งข้อมูลที่ได้ก็จะมีประโยชน์
01:40ในการวางแผนอนุรักษ์ป่าไม้ด้วย

Recommended